หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
ลิงค์ Presentation https://drive.google.com/file/d/1oPjf9BzpVPkLvLm8GsBXERYoREtusWip/view?usp=sharing
ลิงค์ รูปเล่ม
https://drive.google.com/file/d/1uxbNkvRbZpOOKuBxnSfUbYWMis19iIpP/view?usp=sharing
สรุปความรู้ : จากการนำเสนอการศึกษาดูงานองค์กรต่าง ๆ
สำนักเทคโนโลยีการศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช มีการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ถือได้ว่าเป็นที่แรก ๆ ของประเทศไทย มีหน้าที่รับผิดชอบงานด้านวิชาการ จัดระบบ ออกแบบ วิจัย และพัฒนาสื่อ ผลิตสื่อการศึกษา
1. ระบบการจัดการเรียนการศึกษาทางไกลเป็นระบบ ที่เอื้อต่อทุกคน ทุกกลุ่มอาชีพ ทุกพื้นที่
2.คณาจารย์มีความเชี่ยวชาญในการจัดระบบการ เรียนการสอนทางไกล
3.มีการจัดสรรเครื่องคอมพิวเตอร์ ,notebook ,Hardware, Software ที่ทันสมัย และเพียงพอต่อ การเรียนการสอนและการปฏิบัติงาน
4.มีสถานี STOU CHANNEL เป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอดความรูู้ไปยังนักศึกษาและประชาชนได้ อย่างกว้างขวางทั่วถึง โดยออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง
ประกอบการเรียนการสอน มีความเคยชินในวิธีการสอนแบบเดิม อีกทั้งระบบจูงใจและค่าตอบแทนไม่
จูงใจให้พัฒนาบทเรียน e-Learning
2.งบประมาณที่จัดสรรให้แก่คณาจารย์สําหรับงานที่ไม่ใช่งานประจําในการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อ การพัฒนายังมีน้อย เช่น การผลิต LOM เป็นต้น
3.เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยที่ให์บริการ eLearning
ยังไม่มีเสถียรภาพ และประสิทธิภาพเมื่อ มีผู้ใช้งานมาก
e- GP ระบบ ป.ป.ช. และ ระบบ GFMIS ส่งผลให้เจ้าหน้าที่ใช้เวลาในปฏิบัติงานมาก
2. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทําให้สํานักคอมพิวเตอร์ ต้องปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้สอดคล้องทำให้ต้องใช้งบประมาณสูงกว่าปกติ
3.กฎหมายใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ ทําให้สํานักคอมพิวเตอร์ ต้องปรับการทํางานให้ทันต่อความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
สรุปความรู้ : จากการนำเสนอการศึกษาดูงานองค์กรต่าง ๆ
กลุ่มที่ 1 ศึกษาดูงาน สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช
สำนักเทคโนโลยีการศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช มีการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ถือได้ว่าเป็นที่แรก ๆ ของประเทศไทย มีหน้าที่รับผิดชอบงานด้านวิชาการ จัดระบบ ออกแบบ วิจัย และพัฒนาสื่อ ผลิตสื่อการศึกษาSWOT องค์กร
จุดแข็ง (S)
1. ระบบการจัดการเรียนการศึกษาทางไกลเป็นระบบ ที่เอื้อต่อทุกคน ทุกกลุ่มอาชีพ ทุกพื้นที่
2.คณาจารย์มีความเชี่ยวชาญในการจัดระบบการ เรียนการสอนทางไกล
3.มีการจัดสรรเครื่องคอมพิวเตอร์ ,notebook ,Hardware, Software ที่ทันสมัย และเพียงพอต่อ การเรียนการสอนและการปฏิบัติงาน
4.มีสถานี STOU CHANNEL เป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอดความรูู้ไปยังนักศึกษาและประชาชนได้ อย่างกว้างขวางทั่วถึง โดยออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง
จุดอ่อน (W)
1.คณาจารย์ส่วนใหญ่ประมาณ ร้อยละ 60 มีอายุ เฉลี่ยเกิน 50 ปี บางส่วนจึงไม่สันทัดการใช้ ICTประกอบการเรียนการสอน มีความเคยชินในวิธีการสอนแบบเดิม อีกทั้งระบบจูงใจและค่าตอบแทนไม่
จูงใจให้พัฒนาบทเรียน e-Learning
2.งบประมาณที่จัดสรรให้แก่คณาจารย์สําหรับงานที่ไม่ใช่งานประจําในการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อ การพัฒนายังมีน้อย เช่น การผลิต LOM เป็นต้น
3.เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยที่ให์บริการ eLearning
ยังไม่มีเสถียรภาพ และประสิทธิภาพเมื่อ มีผู้ใช้งานมาก
โอกาส (O)
1.ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทําให้เกิดการเผยแพร่ข้อมูลทางการศึกษา การเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภายในและ ภายนอกประเทศได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว
2 .สังคมและชุมชนให้ความสนใจ กับความรู้ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีฯ เป็นโอกาสใน การพัฒนาการบริหารจัดการที่ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพใน
การทำงาน
2 .สังคมและชุมชนให้ความสนใจ กับความรู้ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีฯ เป็นโอกาสใน การพัฒนาการบริหารจัดการที่ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพใน
การทำงาน
อุปสรรค (T)
1. ภาครัฐกําหนดให้หน่วยงานใช้ระบบสารสนเทศในการปฏิบัติงาน หลายระบบ ได้แก่ ระบบ 3 มิติ ระบบe- GP ระบบ ป.ป.ช. และ ระบบ GFMIS ส่งผลให้เจ้าหน้าที่ใช้เวลาในปฏิบัติงานมาก
2. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทําให้สํานักคอมพิวเตอร์ ต้องปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้สอดคล้องทำให้ต้องใช้งบประมาณสูงกว่าปกติ
3.กฎหมายใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ ทําให้สํานักคอมพิวเตอร์ ต้องปรับการทํางานให้ทันต่อความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น